ขอบข่ายการบรรยาย
วิชาพระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา
Buddhism and Ecology
๑. ชื่อรายวิชา พระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา
ชื่อภาษาอังกฤษ Buddhism and Ecology
๒. รหัสวิชา ๑๐๑ ๔๐๗ จำนวนหน่วยกิต ๒ (๒-๐๔)
ภาควิชา
พระพุทธศาสนา
๓.
อาจารย์ประจำวิชา/ผู้บรรยาย พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,ดร.
๔. แนวสังเขปรายวิชา
ศึกษาความหมายและขอบข่ายของนิเวศวิทยา
คำสอนในพระไตรปิฎกเกี่ยวกับนิเวศวิทยา เน้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
มนุษย์กับธรรมชาติ แนวทางการอนุรักษ์และแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม
๕.
จุดประสงค์การเรียนรู้
๕.๑ เพื่อให้นิสิตรู้ความหมายและขอบข่ายของนิเวศวิทยา
๕.๒
เพื่อให้นิสิตศึกษาหลักธรรมในพระไตรปิฎกที่เกี่ยวข้องกันนิเวศวิทยา
๕.๓
เพื่อให้นิสิตประยุกต์หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครองทรัพยกรธรรมชาติ
๖. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
๖.๑
เมื่อได้ศึกษาแล้ว
นิสิตมีความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
๖.๒
เมื่อได้ศึกษาแล้ว
นิสิตมีแนวความคิดที่จะทำงานที่สร้างสรรค์ทางนิเวศวิทยา
๗.
รายละเอียดประจำวิชา
๗.๑ ความหมายและขอบข่ายของพระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา พระสอนไชย
๗.๒
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและมนุษย์กับธรรมชาติ พระสอนไชย
๗.๓
ปัญหานิเวศวิทยาในปัจจุบัน พระมหาทรงศักดิ์
๗.๔
การพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนกับการพัฒนาที่ยั่งยืน พระสมหวัง
๗.๕
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พระสายัณห์
๗.๖
การประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน
ของพระพุทธเจ้าเกี่ยวข้องกับป่าและชีวิตพระกับป่าไม้ ตามนัยนิสสัย ๔ พระสุพรรณ
๗.๗
ข้อห้ามในพระปาติโมกข์
ที่เกี่ยวกับป่าไม้ ต้นไม้ และแม่น้ำลำคลอง พระทองลอน
๗.๘
ป่าไม้คือแหล่งสมุนไพรตามนัยแห่งเภสัชชขันธกะและสัปปายะที่หนุนการปฏิบัติธรรม พระพันทอง
๗.๙
ป่าไม้ โคนต้นไม้ และเรือนว่าง
คือพุทธอุทยานแห่งพระสัจจธรรมและมนุษย์ประพฤติธรรมทำให้สิ่งแวดล้อมดี พระสมศักดิ์
๗.๑๐
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พระสุวรรณ พระจันทร
๗.๑๑
บทบาทของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พระมหาเศรษฐพล พระอานนท์
๘.
กิจกรรมการเรียนการสอน
๘.๑
เชิญผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายพิเศษ
๘.๒
ไปชมผลงานของพระนักอนุรักษ์ธรรมชาติ
๘.๓
ไปดูแหล่งเสื่อมโทรม/และวิธีกำจัดขยะ
๙. การประเมินผล
๙.๑
พฤติกรรม ๑๐
คะแนน
๙.๒
การดูงานและรายงานผล ๒๐ คะแนน
๙.๓
สอบกลางภาค ๒๐ คะแนน
๙.๔
สอบปลายภาค ๕๐ คะแนน
รวม
๑๐๐ คะแนน